วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 16
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี...27.. กันยายน .2556.....ครั้งที่...16....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้และการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี...20.. กันยายน .2556.....ครั้งที่...15....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนการเรียน ว่าเขียนอย่างไร และได้รู้เทคนิควิธีการเขียนแผน ว่า ก่อนที่เราจะเขียนแผนการเรียนนั้นเราต้อง ทำแผนผังความคิดก่อน เมื่อทำเสร็จแล้วก็เลือกเอาหัวข้อย่อยจากแผนผังความคิดซักหนึ่งอย่าง นำมาเขียนเป็นเป็นการเรียนรู้ ตัวอย่างดังภาพ
ก่อนทำแผนการสอนต้องทำแผนผังความคิดก่อน
หน่วยไก่
หน่วยผีเสื้อ
หน่วยกบ
หน่วยผลไม้
วันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี...13.. กันยายน .2556.....ครั้งที่...14....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี...13.. กันยายน .2556.....ครั้งที่...14....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้และการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
กิจกรรมที่ได้ทำในวันนี้คือการ วางแผนในการทำมุมต่างๆ ทำให้เราได้รู้ความคิดของแต่ละกลุ่มว่าเค้ามรความคิดในมุมต่างๆเพื่อเด๋กปฐมวัยอย่างไร และแต่ละกลุ่มอยากจะให้มีมุมไหนสำหรับเด็กปฐมวัย เมื่อเราไปเป็นครูในอนาคต เราเคยมีการวางแผนมุมต่างๆออกมาเป็นภาพแล้วเราก็สามารถจัดมุมต่างๆได้
มุม อาเซียน
มุมในฝัน
มุมบ้านอาเซียน
มุมสัตว์น้ำ
มุมครัว
วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี..... 6 กันยายน .2556.....ครั้งที่...13....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
ก่อนเข้าสู่บทเรียนเพื่อนๆได้ออกมาแสดง ท่าทาง ของสัตว์ต่างๆให้ทายกันว่า
คือสัตว์ตัวไหนแล้วพวกเราก็ทายถูกหมด ภาษาไม่จำเป็นต้องเป็นการพูด การเขียน แต่การแสดงกิริยาท่าทางก็เป็นภาษาอย่างหนึ่งที่เราสามารถใช้สื่อสารกันได้ และเปรียบได้กับอวัจนภาษาในวิชาภาษาไทย
คือสัตว์ตัวไหนแล้วพวกเราก็ทายถูกหมด ภาษาไม่จำเป็นต้องเป็นการพูด การเขียน แต่การแสดงกิริยาท่าทางก็เป็นภาษาอย่างหนึ่งที่เราสามารถใช้สื่อสารกันได้ และเปรียบได้กับอวัจนภาษาในวิชาภาษาไทย
การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา
-สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์รวม
-เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาโดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา
หลัการ
-สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง เป็นผู้กระทำด้วยตนเองเปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระ ได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน
-สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กและบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสองทาง
-สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆ โดยคำนึงความหมายที่เด็กต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยกรณ์
-สิ่งแวดล้อมประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจาและไม่ใช่วาจา เด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์หลายๆแบบ
มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา
-มุมหนังสือ
-มุมบทบาทสมมุติ
-มุมศิลปะ
-มุมดนตรี
ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะภาษา
-มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรมได้
-เด็กรู้สึกผ่อนคลายเมื่ออยู่ในมุม
-บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียน เช่น ดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว
-เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน ออกแบบ
มุมหนังสือ
-มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆที่เหมาะสมกับวัย
-มีบรรยากาศที่ สงบ และอบอุ่น
-มีพื้นที่ในการอ่านลำพัง และเป็นกลุ่ม
-มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน
มุมบทบาทสมมุติ
-มีสื่ออุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่น
-มีพื้นที่ที่เพียงพอ
มุมศิลปะ
-จัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น สีเมจิก ดินสอ ยางลบ ตรายาง ซองจดหมาย ฯลฯ
-กรรไกร กาว สำหรับงานตัดและปะติด
มุมดนตรี
-มีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่นและของจริง เช่น กลอง ฉิ่ง ระนาด ขลุ่ย กรับ เครื่องเคาะจังหวะ
กิจกรรมเพิ่มเติม...การคัดลายมือ
การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์
จากการเรียนในวันนี้ทำให้เราได้รู้แนวทางในการจัดมุมต่างๆสำหรับเด็กปฐมวัย ว่าควรเป็นลักษณะแบบใด ควรใช้สถานที่แบบไหนถึงจะเหมาะสม และในการจัดมุมต่างๆควรคำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก เด็กเล่นในมุมนั้นๆแล้วรู้สึกผ่อนคลาย สนุก และเด็กต้องมีส่วนร่วมในการจักกิจกรรมต่างๆเป็นคนเสนอความคิดเห็นได้ ในการทำกิจกรรมต่างๆในมุมแต่ละมุมเราควรที่จะดูแลอย่างดีเพราะกิจกรรมบางกิจกรรมอาจทำให้เด็กเกิดอุบัติเหตุได้
วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี...30.. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...12....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้และการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี...30.. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...12....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้และการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
ได้ฝึกการคิดเป็นกระบวนการกลุ่ม และได้มีการวางแผนว่าเราควรที่จะทำสื่อสำหรับเด็กในรูปแบบใด และสื่อชนิดไหนจะเหมาะสมกับเด็กวัยเท่าไหร่ จากการที่ได้วางแผนทำสื่อสำหรับเด็กปฐมวัยในวันนี้เราสามารถนำไปใช้ได้จริงในอนาคตอย่างแน่นอน และจากกิจกรรมที่ได้ทำหรือที่เราทำสื่อบ่อยๆ ก็จะสามารถช่วยให้เรากล้าคิด กล้าทำเป็นชั้นผลงานออกมาให้เด็กได้สัมผัสของจริงแน่นอน
การวางแผนสื่อในวันนี้คือ บัตรภาพผลไม้ วีธีเล่น ให้เด็กจับคู่ภาพผลไม้กับชื่อผลไม้ให้ถูกต้อง
ประโยช์ที่ได้รับ ช่วยให้เด็กเกิดความสนุกสนานขณะเล่นและได้รู้จักชื่อและภาพของผลไม้แต่ละชนิด พร้อมกับการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษและภาษาไทยอีกด้วย
การวางแผนสื่อในวันนี้คือ บัตรภาพผลไม้ วีธีเล่น ให้เด็กจับคู่ภาพผลไม้กับชื่อผลไม้ให้ถูกต้อง
ประโยช์ที่ได้รับ ช่วยให้เด็กเกิดความสนุกสนานขณะเล่นและได้รู้จักชื่อและภาพของผลไม้แต่ละชนิด พร้อมกับการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษและภาษาไทยอีกด้วย
วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี..23. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...11....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี..23. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...11....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้คือ
ในการเรียนเรื่องสื่อการเรียนรู้ทางภาษาในวันนี้ทำให้ทราบว่าสื่อคือ วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธีการต่างๆที่สอนให้เด็กสนใจหรือเกิดแรงจูงใจต่อเด็ก สื่อมีความสำคัญต่อเด็กมากเพราะทำให้เด็กได้เห็นภาพ เข้าใจง่าย และเด็กจะเรียนรู้ได้ดี
ประเภทของสื่อการสอนมีอยู่ 5 ประเภท คือ
1.สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นสื่อที่ใช้ระบบการพิมพ์ เช่น หนังสือ 2.สื่อวัสดุอุปกรณ์ สิ่งของต่างๆที่เป็นของจริง เช่น หุ่นจำลอง สมุดภาพ 3. สื่อโสตทัศนูปกรณ์ สื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือต่าง เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น 4. สื่อกิจกรรม สื่อที่ใช้ฝึกปฏิบัติทักษะและกระบวนการคิด เช่น เกมต่างๆ สถานการณ์จำลอง
5. สื่อบริบท สื่อที่ส่งเสริมการจัดประสบการณ์ เช่น สภาพแวดล้อม ห้องเรียน
กิจกรรมสร้างสรรค์ของวันนี้คือ การทำปฏิทินคำศัพท์
ประเภทของสื่อการสอนมีอยู่ 5 ประเภท คือ
1.สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นสื่อที่ใช้ระบบการพิมพ์ เช่น หนังสือ 2.สื่อวัสดุอุปกรณ์ สิ่งของต่างๆที่เป็นของจริง เช่น หุ่นจำลอง สมุดภาพ 3. สื่อโสตทัศนูปกรณ์ สื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือต่าง เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น 4. สื่อกิจกรรม สื่อที่ใช้ฝึกปฏิบัติทักษะและกระบวนการคิด เช่น เกมต่างๆ สถานการณ์จำลอง
5. สื่อบริบท สื่อที่ส่งเสริมการจัดประสบการณ์ เช่น สภาพแวดล้อม ห้องเรียน
กิจกรรมสร้างสรรค์ของวันนี้คือ การทำปฏิทินคำศัพท์
การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์
เมื่อรู้ว่าการทำสื่อมีความสำคัญอย่างไรและมีกี่ประเภทแล้วเราก็สามารถลงมือทำได้ถูกและเหมาะสมกับเด็ก จากกิจกรรมที่ได้ทำปฏิทิน ทำให้เรามีแนวทางในการทำสื่ออีกรูปแบบหนึ่งและสามารถเก็บไปใช้ในอนาคได้
วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี..16. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...10....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้และการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
ได้แนวทางและวิธีการในการทำสื่อในรูปแบบต่างๆ ทั้งหุ่นนิ้ว ป๊อบอั๊พและ บัตรภาพ เพื่อที่จะนำไปใช้กับการเรียนการสอนในหน่วยต่างๆที่เราอยากจะสอน เมื่อเราจบไปเราก็จะสามารถทำสื่อได้เองโดยไม่ต้องไปซื้อ เพราะเรามีประสบการณ์ในการทำสื่อมาก่อน แล้วก็จะทำให้เราเป็นครูที่คิดเป็นประดิษฐ์เก่ง...
มีรูปมาฝากค่ะ...สัปดาห์นี้อาจจะน้อยหน่อยนะคะ^__^
วัน/เดือน/ปี..16. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...10....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้และการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
ได้แนวทางและวิธีการในการทำสื่อในรูปแบบต่างๆ ทั้งหุ่นนิ้ว ป๊อบอั๊พและ บัตรภาพ เพื่อที่จะนำไปใช้กับการเรียนการสอนในหน่วยต่างๆที่เราอยากจะสอน เมื่อเราจบไปเราก็จะสามารถทำสื่อได้เองโดยไม่ต้องไปซื้อ เพราะเรามีประสบการณ์ในการทำสื่อมาก่อน แล้วก็จะทำให้เราเป็นครูที่คิดเป็นประดิษฐ์เก่ง...
มีรูปมาฝากค่ะ...สัปดาห์นี้อาจจะน้อยหน่อยนะคะ^__^
สื่อ..ทายซิว่านี่คือสัญลักษณ์ของประเทศอะไรในอาเซียน
การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้
จากการทำสื่อในรูปแบบต่างๆในวันนี้ทำให้เรามีแนวทางในที่จะการผลิตสื่อไปใช้กับเด็กในอนาคตเมื่อเราไปฝึกสอน หรือ ไปเป็นครู
บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี..9. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...9....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้คือ
อาจารย์ได้ให้เพื่อนทุกคนในห้องได้มีส่วนร่วม ช่วยกันคิดนิทานหนึ่งเรืองโดยแต่งนิทานช่วยกันเพื่อฝึกความสามัคคีในหมู่คณะ และเมื่อช่วยกันแต่งเสร็จแล้วก็ทำเป็นนิทานเล่มใหญ่หรือ Big Book ซึ่งก็สามารถนำไปใช้ได้จริง นิทานเรื่องนี้มีชื่อเรื่องว่า บทเรียนของน้องกระต่ายมีเนื้อเรื่องดังนี้
มีครอบครัวกระต่ายอยู่ครอบครัวหนึ่ง สร้างบ้านอยู่ในทุ่งหญ้าสีเขียวครอบครัวกระต่ายประกอบด้วย พ่อ แม่และมีลูกกระต่าย 2 ตัว และลูกกระต่ายชอบแย่งแครอทกัน น้องชอบแย่งแครอทของพี่ และพี่ก็ยอมเสียสละให้น้องเสมอเพราะเชื่อฟังที่พ่อแม่สั่งสอน แต่น้องก็เอาแต่ใจเกินไปต้องได้ทุกอย่างและให้พี่ยอมน้องทุกเรื่อง แต่แล้ววันหนึ่งมีกระรอกตัวหนึ่งมาแย่งแครอทของน้องกระต่ายไป น้องก็เลยได้แต่นั่งร้องไห้ พี่กระต่ายจึงนำแครอทของตนเองมาให้กับน้อง น้องก็เกิดความสงสัยและคิดว่าทำไมพี่ถึงเอ าแครอทมาให้และพี่ก็บอกว่าเราเป็นพี่น้องกันก็ต้องแบ่งบัน น้องกระต่ายเลยหักแครอทแบ่งกับพี่คนละครึ่งแล้วจากนั้นน้องกระต่ายก็ไม่เอาแต่ใจตนเองอีกเลย
รูปเล่มนิทานเรื่อง บทเรียนของน้องกระต่าย
หน้าปกนิทานเรื่อง บทเรียนของน้องกระต่าย
หน้า 1
หน้า 2
หน้า 3
หน้า 4
หน้า 5
หน้า 6
รวมทั้งเล่มค่ะ
จากกิจกรรมสู่การนำไปใช้
จากกิจกรรมที่ได้ทำในวันนี้ทำให้เราได้ฝึกการคิดในการทำนิทานเล่มใหญ่ที่สามารถเอาไปใช้ได้จริง และสามารถนำกิจกรรมนี้ไปใช้กับเด็กได้โดยการให้เด็กช่วยกันคิดนิทานหนึ่งเรื่องไปพร้อมๆกับเพื่อนๆในห้องและครูต้องไม่ปิดกั้นความคิดเด็กเปิดอิสระในการคิดให้กับเด็ก และเค้าก็จะมีความสุขกับสิ่งที่เค้าได้ทำ
วัน/เดือน/ปี..9. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...9....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้ในวันนี้คือ
อาจารย์ได้ให้เพื่อนทุกคนในห้องได้มีส่วนร่วม ช่วยกันคิดนิทานหนึ่งเรืองโดยแต่งนิทานช่วยกันเพื่อฝึกความสามัคคีในหมู่คณะ และเมื่อช่วยกันแต่งเสร็จแล้วก็ทำเป็นนิทานเล่มใหญ่หรือ Big Book ซึ่งก็สามารถนำไปใช้ได้จริง นิทานเรื่องนี้มีชื่อเรื่องว่า บทเรียนของน้องกระต่ายมีเนื้อเรื่องดังนี้
มีครอบครัวกระต่ายอยู่ครอบครัวหนึ่ง สร้างบ้านอยู่ในทุ่งหญ้าสีเขียวครอบครัวกระต่ายประกอบด้วย พ่อ แม่และมีลูกกระต่าย 2 ตัว และลูกกระต่ายชอบแย่งแครอทกัน น้องชอบแย่งแครอทของพี่ และพี่ก็ยอมเสียสละให้น้องเสมอเพราะเชื่อฟังที่พ่อแม่สั่งสอน แต่น้องก็เอาแต่ใจเกินไปต้องได้ทุกอย่างและให้พี่ยอมน้องทุกเรื่อง แต่แล้ววันหนึ่งมีกระรอกตัวหนึ่งมาแย่งแครอทของน้องกระต่ายไป น้องก็เลยได้แต่นั่งร้องไห้ พี่กระต่ายจึงนำแครอทของตนเองมาให้กับน้อง น้องก็เกิดความสงสัยและคิดว่าทำไมพี่ถึงเอ าแครอทมาให้และพี่ก็บอกว่าเราเป็นพี่น้องกันก็ต้องแบ่งบัน น้องกระต่ายเลยหักแครอทแบ่งกับพี่คนละครึ่งแล้วจากนั้นน้องกระต่ายก็ไม่เอาแต่ใจตนเองอีกเลย
รูปเล่มนิทานเรื่อง บทเรียนของน้องกระต่าย
รวมทั้งเล่มค่ะ
จากกิจกรรมสู่การนำไปใช้
จากกิจกรรมที่ได้ทำในวันนี้ทำให้เราได้ฝึกการคิดในการทำนิทานเล่มใหญ่ที่สามารถเอาไปใช้ได้จริง และสามารถนำกิจกรรมนี้ไปใช้กับเด็กได้โดยการให้เด็กช่วยกันคิดนิทานหนึ่งเรื่องไปพร้อมๆกับเพื่อนๆในห้องและครูต้องไม่ปิดกั้นความคิดเด็กเปิดอิสระในการคิดให้กับเด็ก และเค้าก็จะมีความสุขกับสิ่งที่เค้าได้ทำ
บันทึกอนุทินครั้งที่ 8
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี..7. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...8....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี..7. สิงหาคม .2556.....ครั้งที่...8....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
...........ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากเป็นช่วงสอบกลางภาคของมหาวิทยาลัย.......
วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี.26.. กรกฎาคม .2556.....ครั้งที่...7....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับความรู้จากการเรียนในวันนี้
จาการที่ได้วาดรูปในสิ่งที่ตนเองอยากวาดไม่คิดเลยว่าอาจารย์จะให้นำรูปที่ตนเองวาดออกไปเล่านิทานซึ่งเมื่อไปเล่ากับเพื่อนๆในห้องฟังแล้วก็แอบขำเพราะตลกดี เนื่องจากคนเรามีจินตนาการสูงมากหรือนี่คือสิ่งที่อาจารย์อยากให้เรารู้เรื่องจินตนาการของเด็กแต่ละคนมีไม่เหมือนกันเราควรจะฟังและยินดีกับการได้แสดงพัฒนาการทางด้านภาษา จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก ส่วนการประเมินพัฒนาการทางภาษาของเด็กเราเป็นครูควรใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย เน้นให้ความก้าวหน้าของเด็ก คือ ต้องบันทึกสิ่งที่เด็กทำได้ทุกอย่าง อย่ามองในสิ่งที่เด็กทำไม่ได้ และจากการทำกิจกรรมต่างๆของเด็กเราก็ควรที่จะให้เด็กได้ประเมินพัฒนาการของตนโดยการเอาผลงานของเด็กไปติดบริเวณรอบห้อง ครูก็ควรสนใจทุกผลงานของเด็กและครูต้องประเมินเด็กเป็นรายบุคคลเพราะเด็กแต่ละคนมีกระบวนการคิดต่างกัน
การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
ครูต้องให้ความสนใจ ใส่ใจกับการที่เด็กได้ทำกิจกรรมต่างๆไม่ว่าจะเป็นการแสดงออกทางด้านความคิด การพูด หรือการลงมือปฏิบัติ ครูต้องเข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละคน ว่าพัฒนาการในแต่ละด้านของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน ครูต้องให้ความสนใจ กับเด็กทุกคนเท่ากัน แม้แต่การทำกิจกรรมต่างๆครูก็ควรดูแลเด็กแต่ละคนอย่างใกล้ชิด ครูต้องจัดกิจกรรมเก่งและต้องมีกิจกรรมให้เด็กทำอย่างหลากหลาย จากการที่อาจารย์เล่นนิทานวาดไปเล่าให้ฟัง เราก็สามารถนำไปต่อยอดประยุกต์ใช้ในอนาคตได้
นี่คือรูปไอศกรีมชื่อ..เย็นฉ่ำ...ที่นำออกไปเล่านิทานเรื่องยาวกับเพื่อนๆในห้องค่ะ
วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 6
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี...19 กรกฎาคม .2556.....ครั้งที่...6....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับในวันนี้
สิ่งที่ได้รับในวันนี้คือได้รู้แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษาให้กับเด็กปฐมวัยว่าเราควรจะมีแนวทางในการจัดแบบใดเด็กสามารถรับรู้ได้แบบไหนบ้าง ธรรมชาติของเด็กเป็นแบบใดเราก็ควรที่จะทำตามที่เด็กต้องการ ควรสอนตามใจเด็กในสิ่งที่เด็กอยากทำไม่ใช่สอนตามใจเรา จากการที่ได้ดูวีดีโอทำให้ได้รู้เลยว่าเราอย่าไปคาดหวังให้เด็กมีพัฒนาการในการเรียนรู้เหมือนกันทุกคนและที่สำคัญที่สุดครูต้องใสใจเด็กมาก ต้องใส่ใจทุกลายละเอียด เวลาอ่านนิทานก็ต้องชี้ให้ดูในแต่ละคำ ต้องเขียนให้เด็กดูก่อนที่จะให้เด็กเขียน ให้เด็กได้แสดงความคิดผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ สำหรับการสอนภาษาธรรมชาติให้กับเด็กได้รู้เลยว่าครูต้องสิ่งที่สำคัญที่สุดคือตัวครูเพราะเด็กจะสาถเรียนรู้รับรู้อย่างไรขึ้นอยู่กับครูสอนทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นการเป็นแบบอย่างที่ดี การใช้ภาษากับเด็ก การจัดสภาพการเรียนการสอน เพราะฉะนั้นครูคือสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งในการสอนเด็ดแต่ละคน
การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
การที่เราจะเป็นคุณครูที่ดีได้นั้นเราต้องเข้าใจเด็กในแต่ละคนว่าเค้าต้องการอะไร เราควรจะสอนหรือพัฒนานาพัฒนาการในแต่ละด้านของเขาอย่างไร ต้องใส่ใจเด็กทุกคนอย่างมากและเท่าเทียมกัน ควรสร้างความเชื่อมั่นให้กับเด็ก ในการทำกิจกรรมแต่ละครั้งกับเด็ก เช่น การอ่าน เราควรต้องชี้ตัวหนังสือทุกคำให้เด็กดูด้วยและเราไม่ควรที่คาดหวังในตัวเด็กว่าเด็กทุกคนจะมีพัฒนาการเท่ากัน ควรเปิดอิสระให้เด็กได้คิดอ่าน เขียน โดยผ่านงานเขียนหรือวาดรูปก็ได้
วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 5
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี.... 12 กรกฎาคม 2556.....ครั้งที่...5....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับจากการเรียนในวันนี้คือ
๑.องค์ประกอบของการศึกษา
เสียง (Phonology)
ความหมายของภาษาและคำศัพท์ (Syntax)
ไวยากรณ์ (Syntax)
Pragmatic
๒.แนวคิดนักการศึกษา
นักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า
Piaget
๓. แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี.... 12 กรกฎาคม 2556.....ครั้งที่...5....เวลาเรียน..13.10-16.40 น.
สิ่งที่ได้รับจากการเรียนในวันนี้คือ
๑.องค์ประกอบของการศึกษา
เสียง (Phonology)
-ระบบเสียงของภาษา
-เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
-หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
ความหมายของภาษาและคำศัพท์ (Syntax)
-คือ ความหมายของภาษาและคำศัพท์
-คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายความหมาย
-ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
ไวยากรณ์ (Syntax)
- คือ ระบบไวยากรณ์
- การเสียงรูปประโยค
Pragmatic
- คือระบบการนำไปใช้
-ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ
๒.แนวคิดนักการศึกษา
1. แนวคิดพฤติกรรมนิยม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กให้เป็นไปตามที่เราต้องการไม่ว่าจะเป็นทางบวกหรอทางลบ
Skinner ทฤษฎีการเรียนรู้ ทดลองโดยใช้หนู
-สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการภาษา
-ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง
John B. watson
-ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
-การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้และผู้ใหญ่สามารถที่จะวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ทุกพฤติกรรมนักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า
- ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
- การเรียนภาษาเป็นผลมาจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
- เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
- เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว
- เมื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กเลียนแบบตัวแบบมากขึ้น
2. นักคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
Piaget
- เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
- ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก
Vygotsky
- เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
- สังคม บุคคลรอบข้างมีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
- เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
- ผู้ใหญ่ช่วยชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
3.แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย
Arnold Gesell
- เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
- ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
- เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
- เด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง
4. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาแต่กำเนิด
Noam Chomsky
- ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
- การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
- มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา มาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD (Language Acquisition Derice)
O. Hobart Mowrer
- คิดค้นทฤษฏีความพึงพอใจ
- เด็กพูดคำว่าแม่ได้เกิดจากความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเองเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษา
๓. แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
- เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
- นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
- แล้วแต่ความเชื่อของครูที่มีต่อแนวคิดต่างๆและครูก็จะเอาไปใช้
Richard and Rodger ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์ เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
- นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
- เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลี หรือประโยค
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
- การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
- ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างสัมพันธ์ทางสังคม
- การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา
การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
การใช้ภาษาสื่อสารกับเด็กเราเราต้องพูดให้ถูกอักขระ ร ล ว และเวลาเราจะสื่อสารเรื่องราวต่างๆต้องสื่อสารให้เด็กเข้าใจง่ายและเข้าใจอย่างถูกต้อง จากทฤษฎีเราก็สามารถนำมาใช้กับการจัดการเรียนการสอนได้ แต่ต้องดูว่าทฤษฎีไหนเหมาะกับเด็ก ทั้งเพศและวัย
นี่คือรูปโทรศัพท์บ้านสีแดง...ตอนเด็กๆจะชอบเล่นมากชอบพูด..สวัสดีค่ะ..ทำอะไรอยู่คะกับกลุ่มเพื่อนๆมี่โรงเรียนทุกวัน...และตอนนี้ก็เลยเป็นคนชอบเล่นโทรศัพท์บ้านเวลาเห็นก็จะหยิบมากดเล่นค่ะ
การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
การใช้ภาษาสื่อสารกับเด็กเราเราต้องพูดให้ถูกอักขระ ร ล ว และเวลาเราจะสื่อสารเรื่องราวต่างๆต้องสื่อสารให้เด็กเข้าใจง่ายและเข้าใจอย่างถูกต้อง จากทฤษฎีเราก็สามารถนำมาใช้กับการจัดการเรียนการสอนได้ แต่ต้องดูว่าทฤษฎีไหนเหมาะกับเด็ก ทั้งเพศและวัย
นี่คือรูปโทรศัพท์บ้านสีแดง...ตอนเด็กๆจะชอบเล่นมากชอบพูด..สวัสดีค่ะ..ทำอะไรอยู่คะกับกลุ่มเพื่อนๆมี่โรงเรียนทุกวัน...และตอนนี้ก็เลยเป็นคนชอบเล่นโทรศัพท์บ้านเวลาเห็นก็จะหยิบมากดเล่นค่ะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)